การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนเบื้องต้น

posted in: Course Update | 0

เกี่ยวกับรายวิชา
ชื่อรายวิชา (ภาษาไทย) การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนเบื้องต้น
ชื่อรายวิชา (ภาษาอังกฤษ) Introduction to Logistics and Supply Chain Management
คณะ/ส่วนงานผู้พัฒนา สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ระดับของเนื้อหารายวิชา เบื้องต้น
จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้ 6 ชม. (เรียนออนไลน์ทั้งหมด)
ระยะเวลาเรียน ใช้เวลาในการเรียนไม่เกิน 6 เดือนนับจากวันลงทะเบียนเรียน
รูปแบบการเรียนในรายวิชา: เรียนด้วยตนเอง (Self-paced)
ภาษาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ภาษาไทย
ค่าใช้จ่าย ไม่มี
กลุ่มเป้าหมายของรายวิชา บุคคลทั่วไป
คุณสมบัติผู้เรียน/ความรู้พื้นฐานที่ควรมีมาก่อน: ไม่มี


วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อทารบและเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมโลจิสติกส์ที่สำคัญทุกกิจกรรม รวมถึงกระบวนการไหลของซัพพลายเชนตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้เกิดความพึงพอใจสูงที่สุด
2. สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้
3. สามารถนำกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชนเพื่อเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาในงานโลจิสติกส์ได้

เกณฑ์การให้คะแนนและการรับใบประกาศนียบัตร
ผู้เรียนได้รับประกาศนียบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อศึกษาครบทุกหัวข้อ ทำแบบทดสอบและได้ทำการประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

สิทธิประโยชน์ของผู้เรียน
1. จะได้รับประกาศนียบัตรอิเล็กทรอนิกส์
2. เมื่อเรียนครบ 8 หน่วยการเรียนรู้ สามารถเทียบโอนรายวิชา 161014 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนเบื้องต้น ในหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนได้

สนใจเรียน                     ลงทะเบียนเรียน                   

เอกสารประกอบการเรียนรู้
เอกสารประกอบการสอน อาจารย์อัสสมา สุขปานกลาง
กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒ. 2546. การจัดการซัพพลายเชนและโลจิสติกส์. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิล.
ศ.ดร.ฐาปนา บุญหล้า,FCILT,CMC,2549 โลจิสติกส์ประเทศไทย (Thailand Logistics) สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
ศ.ดร.ฐาปนา บุญหล้า,FCILT,CMC, 2548. การจัดการซัพพลายเชนสำหรับธุรกิจค้าปลีก (Supply Chain Management For Retail Business) สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
ศ.ดร.ฐาปนา บุญหล้า,FCILT,CMC, 2548. คู่มือระบบการจัดเก็บสินค้าสมัยใหม่ (Modern Storage System Manual) สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
วิโรจน์ พุทธวิถี. 2548. การจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management). พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : บริษัท โอเอซิส ปริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด
สาธิต พะเนียทอง. 2548. การจัดการโซ่อุปทานเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด.
ดร.ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์. 2548. การจัดการโลจิสติกส์. กรุงเทพฯ : บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด.
รศ.ฤกษดา วิศวธีรานนท์ และดร.กลุพงศ์ ยูนิพันธ์ Supply Chain & Logistics ทฤษฎีและตัวอย่างจริง สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
Logistics Case Study in Thailand 4. 2549. กรุงเทพฯ : บริษัท ไอทีแอล เทรด มีเดีย จำกัด
ผู้นำในการบริหารจัดการโลจิสติกส์ (Chief Logistics Office).2549. กรุงเทพฯ : บริษัท ไอทีแอล เทรด มีเดีย จำกัด
www.logisticsdigest.com
www.logisticscorner.com
www.transportnews.co.th
www.warehouselogistic.igetweb.com

ทีมผู้สอนและทีมผู้พัฒนารายวิชาออนไลน์

1. อาจารย์อทุมพร อยู่สุข
ตำแหน่ง : หัวหน้าสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
Email : utyoos@rpu.ac.th
2. อาจารย์ภูวณ อัษวกรนิฤางกูร
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยหัวหน้าสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
Email : phauss@rpu.ac.th
3. อาจารย์สุภัสสรา ปัญโญรัฐโรจน์
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
Email : supany@rpu.ac.th
4. อาจารย์มนสิกาญจน์ เกื้อประจง
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
Email : mokuep@rpu.ac.th
5. อาจารย์ช่อทิพย์  ลือไชยวุฒิ
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
Email : chluec@rpu.ac.th

แนะนำรายวิชา