Digital literacy คืออะไร ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ

Graphic Design for Social Media Content Creation (Part 1)

หลักสูตรนี้มุ่งเน้นการจัดทาเนื้อหา (Content) ที่นาเสนอผ่าน Social Media ที่มีการผสมผสานระหว่างรูปภาพ และตัวอักษร ซึ่งต้องอาศัยหลักการออกแบบกราฟิกที่เหมาะสม โดยในเบื้องต้นหลักสูตรนี้ (Part 1) เป็นการสอนทักษะการตัดต่อภาพ และจัดเรียงองค์ประกอบที่เหมาะสม ด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop รวมถึงการประยุกต์ใช้งานในการสร้าง Content ต่าง ๆ

สิ่งที่จะได้เรียนรู้จากคอร์สนี้

เทคนิคการตัดต่อภาพเฉพาะส่วนในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเลือกเฉพาะ Content ที่สนใจและมีความต้องการจะนาเสนอ การตัดแต่งภาพซ้อน การแยกวัตถุออกจากฉากหลัง และการประยุกต์ใช้ทักษะดังกล่าวสร้าง Content ต่าง ๆ ที่เหมาะสมในการนาเสนอผ่าน Social Media

เนื้อหาของคอร์สนี้

1. การเลือกพื้นที่บนภาพ

2. การสร้าง Selection แบบอิสระ

3. การปรับแต่งขอบ Selection แบบต่าง ๆ

4. การตัดแต่งภาพซ้อนด้วยเครื่องมือ Pen Tool

5. การนาวัตถุออกจากฉากหลังที่มีสีใกล้เคียงกัน

6. Work Shop การตัดแต่งภาพซ้อนอย่างง่าย


คุณสมบัติของผู้สมัครเรียน

บุคคลทั่วไปที่สนใจ

ผู้สอน

ผศ.วลัยนุช สกุลนุ้ย

สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อธุรกิจ

คณะเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์

วัตถุประสงค์

1. นิสิตสามารถอธิบายประเภทและรูปแบบการบริการได้

2. นิสิตสามารถอธิบายการจัดเลี้ยงประเภทต่าง ๆ ได้

3. นิสิตสามารถอธิบายโครงสร้างการบริหารงาน และหน้าที่ความรับผิดชอบของพนักงานฝ่ายบริการอาหารและเครื่องดื่มได้


วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน

1. อธิบายเนื้อหาและสรุปเนื้อหา

2. แบบฝึกหัด

3. แบบทดสอบ Pre-test และ Post-test


สื่อการเรียนการสอน

1. คลิปวีดีโอ

2. เอกสารประกอบการสอน

3. กรณีศึกษา


การวัดผลและการประเมินผล

1. การตรวจแบบฝึกหัด

2. ผลการทดสอบ Pre-test และ Post-test

3. สังเกตการร่วมกิจกรรมแสดงความคิดเห็น และตอบคำถามของผู้เรียน

4. กิจกรรมเสนอแนะโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

วัตถุประสงค์

1. เพื่อเข้าใจความหมาย ประโยชน์ ความสำคัญของการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

2. เพื่อเข้าใจห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)

3. เพื่อเข้าใจและทราบการเติบโตของการจัดการโลจิสติกส์ในประเทศและต่างประเทศ

4. เพื่อเข้าใจต้นทุนด้านโลจิสติกส์ต่างๆ

5. เพื่อเข้าใจระบบโครงสร้างด้านโลจิสติกส์พื้นฐานในประเทศ

6. เพื่อเข้าใจการวางแผนการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

7. เพื่อเข้าใจ SCOR Model และตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์

8. เพื่อทราบแนวทางการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนที่ประสบความสำเร็จ


วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน

1. อธิบายเนื้อหาและสรุปเนื้อหา

2. ปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมายในแต่ละตอน

3. ทำแบบประเมินผลการเรียนรู้


สื่อการเรียนการสอน

1. คลิปการสอน

2. เอกสารประกอบการสอน


การวัดผลและการประเมินผล

1. การตรวจงานและแบบฝึกหัด

2.  การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย

3. สังเกตการณ์ร่วมกิจกรรมแสดงความเห็น และตอบคำถามของผู้เรียน

4. กิจกรรมเสนอแนะโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ


คำอธิบาย
นำเสนอรายละเอียดเนื้อหาของรายวิชาอย่างย่อ แนวคิด หลักการวิเคราะห์และออกแบบสารสนเทศทางการบัญชี การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ การจัดทำแบบนำเสนอโครงการ การบริหารโครงการ เครื่องมือและเทคนิคในการวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี โดยคำนึงถึงกระบวนการทางบัญชีและระบบการควบคุมภายใน